วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12


บันทึกอนุทินครั้งที่  12

วันพฤหัสบดี ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

นำเสนอวิจัยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วิจัยเรื่องที่ 1 การส่งเสริมทักษะการสังเกต โดยใช้การจัดกิจกรรมเกมการศึกษา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อใหน้กัเรียนมีทักษะในการสังเกตสิ่งต่างๆได้ดีขึ้น

2. เพื่อให้นักเรียนนำทักษะที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แบบประเมินทักษะการสังเกตการเล่นเกม 5 เกม
1. เกมจับคู่ภาพเหมือน
2. เกมจับคู่ภาพกับเงา
3. เกมภาพตัดต่อ
4. เกมสังเกต

สรุปผลการวิจัย
ภายหลังจากการส่งเสริมทักษะการสังเกตของนักเรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมเกมการศึกษา พบว่า เด็กนักเรียน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมเกมการศึกษามีทักษะการสังเกตสูงขึ้น

วิจัยเรื่องที่ 2 ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

  1. แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
  2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. การสังเกต
  2. การจำแนก
  3. การสื่อสาร
การจัดกิจกรรมโดยการฟังนิทาน สู่ การทดลอง
  1. พับเรือ แล้วใช้คำถามจะจมหรือลอย
  2. เด็กได้สังเกต
  3. ครูใส่ลูกแก้วที่ละลูก พอถึงลูกที่ 4 เรือจม (เด็กได้จำแนกจำนวนลูกแก้วลูกที่ 1-3 เรือลอย ส่วนลูกที่ 4 เรือจม)
  4. เด็กได้ประมวลความรู้เพื่อนำเสนอ

ความมุ่งหมายของวิจัย
  1. เพื่อศึกษาทักษะของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการเรียนรู้แบบนักวิจัย
  2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการเรียนรู้แบบนักวิจัยก่อนทดลอง และหลังทดลอง
สรุปผลวิจัย

การวิจัยเปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Design) ซึงทําการศึกษากับกลุมตัวอยางที่เปนนักเรียนระดับปฐมวัย โดยผู้วิจัยสรางความคุนเคยกับกลุมตัวอยางเป็นเวลา1 สัปดาห

จากนั้นทําการทดสอบด้วยแบบทดสอบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย กอนการทดลอง
กับกลุมตัวอย่าง และดําเนินการทดลองจนครบ  8 สัปดาหเมื่อสิ้นสุดการทดลอง  นําแบบทดสอบทักษะ
กระบวนการวิทยาศาสตร ของเด็กปฐมวัยมาทดสอบอีกครั้ง    และนําขอมูลที่ไดจากการทดสอบมาวิเคราะหขอมูลด้วยวิธีการทางสถิติ


ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต
  2. ทักษะการจำแนก
  3. ทักษะด้านมิติสัมพันธ์
  4. ทักษะการลงความเห็น
คำสำคัญ : ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์/ กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ

สรุปผลการวิจัย

1. ก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ของเด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับปานกลางทั้งโดยรวมและจ าแนกรายทักษะ หลังการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยอยูมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ทั้งโดยรวมและจำแนกรายทักษะอยู่ในระดับมากที่สุด
2. หลังการใชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นกวากอนใชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01


เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
  1. แผนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ 40 แผน
  2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  • การจำแนก
  • การวัดปริมาณ
  • การหามิติสัมพันธ์
  • การลงความห็น
สรุปผลการทำวิจัย

เน้นกระบวนการเปิดโอกาสให้เด็กได้ปฏิบัติทุกขั้นตอน โดยให้เด็กทำแป้งโด แล้วให้เด็กได้สร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการ


ทักษะที่ได้รับ
  1. ทักษะการฟัง
  2. ทักษะการสังเกต
  3. ทักษะการคิดแก้ปัญหา
  4. ทักษะการใช้เหตุผล
สรุปผลการวิจัย

เด็กปฐมวัยมีการคิดวิจารณญาณทั้งในภาพรวมและราบด้าน สูงขึ้นกว่าก่อนการจัดกิจกรรม


เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
  1. แผนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์
  2. แบบทดสอบสัดความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผล 5 ชุด
สรุปผลการทำวิจัย

เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบบปกติ หลังการทดลองเด็กมีความสามารถด้านการคิดอย่างมีเหตุผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.5

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  1. การนำเครื่องมือการวิจัยวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวัย
  2. การนำวิจัยมาปรับใช้เพื่องส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
  3. การนำวัยมาเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาให้กับเด็กปฐมวัย
  4. การนำวิจัยมาเป็นแบบอย่างในการทำวิจัยในชั้นเรียน
  5. การใช้คำสำสัญเพื่อหาวิจัยได้ง่ายขึ้น
เทคนิคการสอน
  1. การสืบค้นข้อมูลและความรู้ด้วยตนเอง
  2. การคิดวิเคราะห์ในการสรุปผลการทำวิจัย
  3. การเพิ่มเติมความรู้จากวิจัยแต่ล่ะเรื่อง
  4. การให้จำคำสำคัญของวิจัย
  5. การนำสนอวิจัยหน้าชั้นเรียน
  6. การให้คำแนะนำในการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
  7. การใช้คำถามเพื่อกระตุ้นพัฒนาการ
การประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง : แต่งกายถูกระเบียบ มีความตรงต่อเวลาในการเข้าห้องเรียน การนำเสนอวิจัยในวันนี้ราบรื่นเพราะสามารถใช้นำ้เสียงที่น่าฟัง และเพื่อนที่ฟังการนำเสนอวิจัยสามารถจับประเด็นได้ 
ประเมินพื่อน : เพื่อนทุกคนตั้งใจฟังการนำเสนอวิจัยต่างๆ และสามารถสรุปองค์ความรู้ต่างๆได้เป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ให้นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยตนเอง แล้วให้นำวิจัยมานำเสนอหน้าชั้นเรียน สามารถทำให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และการขยายความรู้ของวิจัยแต่ละเรื่องให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น ดิฉันประทับอาจารย์เป็นอย่างมาก เพราะอาจารย์มอบหมายงานให้นักศึกษาทำทุกครั้งที่นักศึกษานำเสนองาน อาจารย์ก็จะใส่ใจและจดบันทึกความรู้ตลอด ทำให้ดิฉันรู้สึกว่าสิ่งที่เตรียมมาอาจารย์ให้ความสำคัญกับงานที่นักศึกษาได้ทำ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น